welcome ยินดีต้อนรับสู้บล็อกเกอร์ของนางสาวเบญจมาศ บริบูรณ์ จ้าจ้า

วันเสาร์ที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2558


สัปดาห์ที่ 10 วันที่ 10  มีนาคม 2558






บันทึกอนุทินครั้งที่ 10
Inclusive Education Experiences Management for Early Childhood
วิชาการจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวม
อาจารย์ผู้สอนอาจารย์ ตฤณ  แจ่มถิ่น
วัน/เดือน/ปี  วันอังคาร ที่ 10  มีนาคม  2558 
เข้าสอนเวลา 14:10-17:30 น.










กิจกรรมวันนี้





อาจารย์เริ่มด้วยอาจารย๋เล่าเรื่องการสอบบรรจุแล้วอาจารย์ก็ถามว่าใครจบปี5แล้วใครจะไปสอบบรรจุเลยบ้างหนูหนึ่งคนที่ยกมือแต่อาจารย์บอกว่าใครที่คิดจบแล้วจะไปสอบเลยจะต้องเิ่มอ่านหนังสือตั้งแต่ตอนนี้เพราะถ้าไปอ่านเอาปี5เลยไม่ทันแน่ๆกาสอบบรรจุอาจารย์บอกว่ามีอยู่ 2 สังกัดคือ สังกัด กรุงเทพมหานคร กับสังกัด เขตพื้นที่การศึกษาทั่วประเทศ(สพฐ) แล้วอาจาย์ก็บอกถึงแนวข้อสอบว่ามีทั้งหมด 3 ขั้น คือ 1. ภาค ก หรือความรู้ทีั่วไป เช่น พรบ.การศึกษา วิชาหลักสูตรวิชาการบริหารจัดการในชั้นเรียน วิชาการประเมิน เป็นต้น ส่วนภาค ข คือ วิชาเอกของแต่ละสาขาวิชา เช่น กาศึกษาปฐมวัย เป็นต้น จะสอบเกี่ยวกับความรู้ในสาขานั้นๆอย่างละเอียดอาจารย์บอกว่ายาก ในภาค  ข และกาสอบสัมภาษณ์เป็นขั้นตอนสุดท้าย
แล้วอาจารย์ก็อธิบายถึงความแตกต่างระหว่าง กทม /สพฐ/เอกชล
-เอกชลพ่อแม่ผู้ปกครองเขาคิดว่าเขาเสียตังมาเรียนเค้าจะไม่สนใจครูเลย
-กทม จะไม่ใช่กิจกรรมหลักกิจกรรมหลัก 6 กิจกรมส่วนมากจะใช้อ่านเขียนมากกว่า
ส่วน สพฐ การเรียนการสอนจะเป็นไปตามหลักสูตรที่วางไว้เลย
และสุดท้ายอาจารย์บอกว่า ชื่อโรงเรียนดีๆเพราะเข้าไปการเรียนการสอนหรือสิ่งต่างๆอาจจะไม่ดีเหมือนชื่อก็ได้
กิจกรรมต่อมาอาจารย์ให้ดูวีดีโอการศึกษาแบบเรียนร่วมของ 'โรงเรียนบ้านพลอยภูมิ'



ความรู้ที่ได้รับจากการชมวีดีโอ
 ได้รู้ว่ากาจัดกิจกรรมที่่ช่วยส่งเสริมการเรียนของเด็กในห้องเรียนเรียน่วมคือ กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะครูมักจะนำมาช่วยพัฒนาเด็กทั้งทางด้านร่างกายคือ การเดิน การเขย่งปลายเท้า การทรงตัวการก้าวกระโดน ความสมดุลของร่างกาย
ด้านอามณ์ คือ เด็กอายุเท่ากันมีพัฒนาการช้าอาจจะไม่ให้ความร่วมมือในกาทำกิจกรมเท่าที่ควรครูจึงต้องนำกิจกรรมเคลื่อนไหวมาช่วยส่งเสริมและเป็นการกระตุ้นให้กับเด็ก เด็กจะได้สนุกสนุกและอยากจะทำกิจกรรมเช่น            
 เพลงหอยโข่ง
 "หอยโข่งหอยโข่ง มันหดตัวเป็นวงกลม"
กิจกรรมต่อมาอาจารย์ให้ทำกิจกรรมมีเกมมาให้เล่นเพื่อกระตุ้นสมองก่อนเรียนในวันนี้เราเรียนกันท้งหมด 60 คนเรียนร่วมกัน 2 กลุ่มค่ะ
วันนี้อาจารย์สอนเรื่อง การส่งเสริมทักาษะต่างๆของเด็กพิเศษ
ทักษะด้านภาษา
ห้องเรียนสำหรับเด็กทางภาษาจะต้องมีตัวหนังสือเยอะๆถึงแม้ว่าเด็กจะอ่านออกหรือไม่ก็ตามและช่วยส่งเสริมการร้องเพลง/เล่านิทาน/การท่องคำคล้องจอง
=กาวัดความสามารถทางภาษา
-เข้าใจสิ่งที่ผู้อื่นพูดไหม
-ตอบสนองเมื่อมีคนพูดด้วยไหม
-ถามหาสิ่งต่างๆไหม
-บอกเล่าเหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นไหม
-ใช้คำศัพท์ของตัวเองกับคนอื่นไหม
=การออกเสียง/พูดไม่ชัด
-กาพูดตกหล่น
-ใช้เสียงหนึ่งแทนอีกเสียง
-ติดอ่าง
=การปฎิบัติของครูกับผู้ใหญ่
-ไม่สนใจการพูดซ้ำหือกาออกเสียงไม่ชัดและอย่าไปจ้ำจี้จ้ำชัยเด็ก
-ห้ามบอกเด็กว่า ''พูดซ้ำๆ'' ''ตามสะบาย''คิดก่อนพูด''
-อย่าขัดจังหวะขนาดเด็กพูดปล่อยให้เด็กพูดให้จบ
-อย่าเปลี่ยนกาใช้มือข้างถนัดของเด็ก
-ไม่เปรียบเทียบการพูดของเด็กคนหนึ่งกับเด็กอีกคนหน่ง
-เด็กที่พูดไมชัดอยากจะเกี่ยวกับการได้ยิน
=ทักษะพื้นฐานทางภาษา
-ทักษะการับรู้ภาษา
-การแสดงออกทางภาษา
-การสื่อความหมายโดยไม่ใช่คำพูด








=ความรับผิดชอบของครูปฐมวัย
-การรับรู้ภาษามาก่อนกาแสดงออกทางภาษา
-ภาษาที่ไม่ใช่การพูดมาก่อนภาษาพูด
-ให้เวลาเด็กได้พูด
-คอยให้คำตอบ(ชี้แนะหากจำเป็น)
-เป็นผู้ฟังที่ดีและตอบโต้อย่างซับไว
-เด็กไม่ได้เรียนรู้ภาษาเพยงการฟังเพียงอย่างเดียว
-ให้เด็กทำกิจกรมกลุ่ม เด็กพิเศษจะได้มีแบบอย่างจากเพื่อน
-กระตุ้นให้เด็กบอกความต้องการของตัวเอง(ครูไม่ควคาดการณ์ล่วงหน้า)
-ใช้คำถามปลายเปิด
-ใช้วิธีกาสื่อความหมายมากกว่าการพูด
เด็กพิเศษรับรู้มากเท่าไห่ยิ่งพูดได้มากเท่านั้น
-ร่วมกิจกรรมกับเด็ก




ภาพบรรยากาศในการเรียนการสอน





 กิจกรรมต่อมาอาจาย์ให้ร้องเพลงของสัปดาห์ที่แล้วให้ฟังแข่งกัน 2 กลุ่ม
และหลังจากนั้นอาจารย์ให้กิจกรรมศิลปะบำบัด












ผลงานของคู่หนู 








                                                    ภาพร่วมผลงานของกลุ่มเพื่อน




ความรู้ที่ได้รับจากการทำกิจกรรม 
-เด็กจะได้เรียนมิติสัมพันธ์
-กล้ามเนื้อมัดเล็ก
-ความคิดสร้างสรรค์ที่แปลกใหม่
-ได้เรื่องคณิตศาสตร์เรื่่องรูปทรงต่างๆและสี



การนำไปประยุกต์ใช้
สามารำนำความรู้เื่องกาส่งเสริมทักษะทางภาษาไปช่วยส่งเสริมด้านการพูดด้านการออกเสียงของเด็กให้ดีมากขึึ้นโดยที่เราจะไม่ไปขัดจังหวะเด็กเวลาที่เด็กพูดเวลาที่เด็กจะส่งเสียงหรือแสดงพฤติกรรมในการพูดเพาะถ้าเาไปขัดขว้างจะทำให้เด็กเกิดความสะดุดในการพูดและเราจะไม่ใช่คำพูดบอกเด็กว่าให้เด็กพูดซ้ำๆ  พูดตามสบาย คิดก่อนพูดโดยเด็ดขาดและเราเป็นครูจะต้องเข้าใจถึงสิ่งที่เขาพูดและสิ่งที่เด็กจะได้รับจากครูในการพูดด้วยและห้องเรียนของเด็กที่ช่วยส่งเสริมด้านภาษาของเด็กจะต้องเป็นห้องเรียนที่มีตัวหนังสือเยอะๆและส่งเสริมการร้องเพลง การท่องคำคล้องจอง เป็นต้น


ประเมินตนเอง
ในวันนี้แต่งการเรียบร้อยเข้าเรียนตรงเวลาและได้ตัวปั๊มเด็กดีในการจัดโต๊ะให้เพื่อนไได้เรียนกัน
และในวันนี้ตั้งใจเรียนอยู่บ้างพอสมควรหลังเริ่มจะเล่นจะคุยกับเพื่อนมากไปหน่อยสติแตกแต่ก็สามารถครบคุ้มและกับมามีสติเหมือนเดิมและตั้งใจฟังสิ่งที่อาจารย์มอบให้

ประมินเพื่อน
วันนี้เพื่อนตั้งใจเรียนดีพอสมควรแต่ก็คุยกันหนักอยู่พอสมควรเพราะว่าเราเรียนกัน 2 กลุ่ม แต่งกายเรียบ้อยแต่ก็มีบ้างส่วนที่เข้าเรียนไม่ตรงเวลาให้ความร่วมมือในการเรียนดี

ประเมินอาจารย์
วันนี้อาจาย์เตรียมสื่อการสอนมาพร้อมเป็นอย่างดีแต่งกายน่ารักเหมือนเดิมแต่วันนี้หน้าตาอาจารย์ไม่ค่อยสดชื่นเท่าไห่นักเพราะว่ามีเรื่องเคีลยสนิดหน่อยพอสมควรแต่อาจารย์ก็ให้ความรู้และประสบการณ์เป็นอย่างดีมีการยกตัวอย่างทั้งการพูดและกาแสดงบทบาทสมมุติที่ดีเหมือนเดิมทำให้การเรียนการสอนเห็นภาพที่ชัดเจนมากยิ่งขึ้นและเข้าใจง่าย

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น