welcome ยินดีต้อนรับสู้บล็อกเกอร์ของนางสาวเบญจมาศ บริบูรณ์ จ้าจ้า

วันอังคารที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2558

สัปดาห์ที่ 17 วันที่ 30เมษายน 2558




บันทึกอนุทินครั้งที่ 17
Inclusive Education Experiences Management for Early Childhood
วิชาการจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวม
อาจารย์ผู้สอนอาจารย์ ตฤณ  แจ่มถิ่น
วัน/เดือน/ปี  วันอังคาร ที่ 30  เมษายน  2558
เข้าสอนเวลา 14:10-17:30 น






หมายเหตุ
ในวันนี้ดิฉันไม่ได้ไปเรียนขาดเรียนเนื่องจากติดธุระจำเป็นจริงๆเลยขออนุญาติอาจารย์มาสอบในวันที่ 31 แทน มาสอบก็จับได้เพลง จำจี้ดอกไม้ ขออาจาย์ซ้อมแปปหนึ่งเพราะว่ายอมรับเลยว่าไม่ได้ซ้อมมาเลยดีที่จับได้เพลงที่ตัวเอง้องเป็นอยู่แล้วอาจารย์ก็ให้โอกาศขอบคุณอาจารย์มากคะ


  เพลงจ้ำจี้ดอกไม้
จ้ำจี้ดอกไม้ ดาวเรือง หงอนไก่ 
จำปี จำปา มะลิ พิกุล
กุหลาบ ชบา บานชื่น กระดังงา 
เข็ม แก้ว ลัดดา เฟื่องฟ้าราตรี

วันพุธที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2558

สัปดาห์ที่ 16 วันที่ 21เมษายน 2558



บันทึกอนุทินครั้งที่ 16
Inclusive Education Experiences Management for Early Childhood
วิชาการจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวม
อาจารย์ผู้สอนอาจารย์ ตฤณ  แจ่มถิ่น
วัน/เดือน/ปี  วันอังคาร ที่ 21  เมษายน  2558
ข้าสอนเวลา 14:10-17:30 น.




กิจกรรมวันนี้
อาจารย์นำเข้าสู่บทเรียนโดยการเล่นเกม ชื่อเกมว่า ดิ่งพสุธา ทั้งหมด 3 คำถาม
1.ระหว่างที่นั่งเครื่องบินสูงขึ้นสูงขึ้นไปเรื่อยๆเรื่อยๆเพื่อที่จะกะดดน่มในะหว่างนั่งเพื่อนคนแรกก็กระโดดลงไปกระโดดลงไปจนหมดเหลือเราคนสุดท้าย นักศึกษาจะตัดสินใจกระโดดหรือไม่กระโดด




ตอบ ไม่กะโดดเพราะกลัวใจหวิว ถ้าจำเป็นจิงๆหรือบังคับก็ต้องกระโดดค่ะ

2 ถ้าเรากระโดดไปคู่กับครูฝึกระหว่างที่กำลังลงไปเาจะรู้สึกอยางไร



ตอบ หลับตาตลอด

 3. ระหว่างที่ค่อยๆลอยลงมาถึงพื้นและก็มาถึงพื้นเรียบร้อยแล้วคิดว่าครูฝึกจะพูดอะไรกับเรา




ตอบ สุดยอด คุณทำได้ 


เฉลยก็คือเป็นการปลดปล่อยฮอร์โมน



กิจกรรมต่อมาคือเป็นการเรียน

โปรแกรมการศึกษาเฉพาะบุคคล
(Individualized Education Program)

 IEP ประกอบด้วย
-ข้อมูลส่วนตัวของเด็ก
-ระบุวาเด็กมีความจำเป็นต้องได้รับบริกาพิเศษอะไรบ้าง
-การระบุความสามารถของเด็กในขณะปัจจุบัน
-เป้าหมายระยะยาวประจำปี / ระยะสั้น(ยากที่สุด)
-ระบุวัน เดือน ปี ที่เริ่มทำาสอน และคาดคะเนการสิ้นสุดของแผน (ต้องระบุอย่างชัดเจน)
-วิธีการประเมิน


แผน IEP
-แผนการศึกษาที่ร่างขั้น
-เพื่อให้เด็กพิเศษแต่ละคนได้รับการสอนและการช่วยเหลือฟื้นฟูให้เหมาะสมกับความต้องการและความสามารถของเขา
-ด้วยการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้
-โดยระบุเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุดการใช้แผนและวิธีการวัดประเมิน

ประโยชน์ต่อเด็ก
-ได้เรียนรู้ตามความสามารถของตน
-ได้มีโอกาศพัฒนาตามศักยภาพของตนเอง
-ได้รับการศึกษาฟื้นฟูอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม

การเขียนแผน  IEP
 -คัดแยกเด็กพิเศษ
-ครูต้องรู้ว่าเด็กมีปัญหาอะไร
-ประเมินพัฒนาการเด็กเป็นระยะ
-เด็กสามารถทำอะไรได้/และทำอะไรไม่ได้
-แล้วจึกเริ่มเขียนแผน

ประโยชน์ต่อครู
-เป็นแนวทางจัดการเรียนการสอน
-เป็นแนวทางในกาเลือกสื่อการเรียนการสอนและวิธีกาสอนที่เหมาะสมกับเด้ก
-ปรับเปลี่ยนได้เมื่อต้องการเปลี่ยนแปลง
-เป็นแนวทางในหารประเมินผลการเรียนการเขียนรายงานพัฒนาการความก้าวหน้าของเด็ก

ประโยชน์ต่อผู้ปกครอง
-ได้มีส่วนร่วมในการจัดทำแผนการเรียนรายบุคคลเพื่อให้เด็กได้พัฒนาความสามารถได้สูงสุดตามศักยภาพ
-ทาบกับครูว่าจะฝึกลูกของตนอย่างไร

การจัดทำแผน
-ประชุมผู้ที่เกี่ยวข้อง
-กำหนดจุดมุ่งหมายระยะยาวและระยะสั้น
-กำหนดโปรแกรมและกิจกรรม
-จะต้องได้รับการรับรองแผนการศึกษาเฉพาะบุคคลจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง


ขั้นตอนการจัดทำแผนการศึกษารายบุคคล
 กำหนดจุดมุ่งหมาย
-ระยะสั้น 
-ระยะยาว

การรวบรวมข้อมูล
-รายงานทางการแพทย์
ายงานการประมินด้านต่างๆ
บันทึกจากผู้ปกครอง  ครูและผู้ที่เกี่ยวข้อง

จุดมุ่งหมายระยะยาว
=กำหนดให้ชัดเจน แม้จะกว้าง
-น้องนุ่นช่วยเหลือตนเองได้
-น้องดาวร่วมมือกับผู้อื่น
-น้องริวเข้ากับผู้อื่นได้

จุดมุ่งหมายระยะสั้น
-ตั้งให้อยู่ภายใต้จุดมุ่งหมายหลัก
-เป็นพฤติกรรมที่เด็กสามารถทำได้ระยะ 2-3 วันหรือ 2-3 สัปดาห์
  





จุดมุ่งหมายต่อ
-จะสอนใคร
-พฤติกรรมอะไร
-เมื่อไหร่ที่ไหน
-พฤติกรรมนั้นต้องดีขนาดไหน

การใช้แผน
-เมื่อแผนเสร็จสมบูรณ์ครูจะนำไปใช้โดยจะใช้แผนระยะสั้น
-นำมาทำเป็นจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
-แยกย่อยขั้นตอนกาสอนให้เหมาะกับเด็ก
จัดเตรียมสื่อและจัดกิจกรรมการเรียนกาสอน







การประเมินผล
-โดยทั่งไปจะประเมินภาคเรียนละครั้ง หรือย่อยกว่านั้น
-ควรมรการกำหนดวิธีการประเมิน และเกณฑ์วัดผล
-กาประเมินในแต่ละทักษะหรือแต่ละกิจกรรมอาจใช้วิธีวัดและกำหนดเกณฑ์แตกต่างกัน




หลังจากนั้นอาจารย์อธิบายเกี่ยวกับกาเขียนแผน IEP และให้แบ่งกลุ่มกล่มละ 5 คนเขียนแผน IEP กลุ่ม






ความรู้ที่ได้รับ
ในวันนี้ได้รู้จักการเขียนแผน IEP สำหรับเด็กพิเศษแต่อาจารย์บอกว่าเด็กปกติก็สามารถขียนได้เหมือนกันเพาะว่าเป็นการสังเกตพัฒนากาของเด็กและทำให้ครูสามารถรับมือและแก้ไขพัฒนาการของเด็กที่บกพร่องในด้านต่างๆให้ดีมากยิ่งขึ้นและเป็นการเขียนแผนที่ในหนึ่งภาคเรียนเราจะสอนหรือจะสอนหรือพัฒนาเด็กในด้านใด
ประเมินตนเอง
ในวันนี้แต่งการเรียบร้อยตั้งใจเรีนตั้งใจทำกิจกรรมตั้งใจฟังสิ่งที่อาจารย์สอนอาจาย์มอบให้และเทคนิคหอวิธีการในการเขียนแผน IEP ก็ไม่เคยรู้ว่าก่อนว่าแผนนี้คืออะไรและได้มาเรียนก็สามารถเข้าใจและเขียนได้
ประเมินเพื่อน
ในวันนี้เพื่อนแต่งกายเรียบร้อยตั้งใจเรียนบ้างตอนแรกๆหลังๆมาก็เริ่มคุยกันอยู่พอสมควรและเพื่อนบ้างคนก็ตั้งใจจดในสิ่งที่อาจารย์สอนและให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมเป็นอย่างี
ประเมินอาจารย์
ในวันนี้อาจาย์ตั้งใจสอนตั้งใจนำสื่อกาเรียนเรียนการสอนมาให้นัศึษาและเตรียมความพร้อมมาเป็นอย่างดีในทุกๆอย่างสอนแล้วเข้าใจง่ายไม่สับซ้อนถ้าเป็นไปได้เทอมหน้าก็อยากจะเรียนกับอาจารย์อีกค่ะ

วันพฤหัสบดีที่ 16 เมษายน พ.ศ. 2558

สัปดาห์ที่ 15 วันที่ 14 เมษายน 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่ 15
Inclusive Education Experiences Management for Early Childhood
วิชาการจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวม
อาจารย์ผู้สอนอาจารย์ ตฤณ  แจ่มถิ่น
วัน/เดือน/ปี  วันอังคาร ที่ 14  เมษายน  2558
เข้าสอนเวลา 14:10-17:30 น.


วันนี้ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องในวันหยุด เทศกาลสงกรานต์





สัปดาห์ที่ 14 วันที่ 7  เมษายน 2558



บันทึกอนุทินครั้งที่ 14
Inclusive Education Experiences Management for Early Childhood
วิชาการจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวม
อาจารย์ผู้สอนอาจารย์ ตฤณ  แจ่มถิ่น
วัน/เดือน/ปี  วันอังคาร ที่ 7  เมษายน  2558
เข้าสอนเวลา 14:10-17:30 น.








กิจกรรมวันนี้
 วันนี้อาจารย์เริ่มต้นการเรียนการสอนด้วยการเฉลยข้อสอบ 10 ข้อ 
เฉลยข้อสอบมาถึงกับอึ่งไปแปปนึ่งเพราะว่าคิดว่าทำตอบมันชั่งลึกซึ่งมากเพาะว่าเป็นข้อสอบที่เน้นความเข้าใจสูงและข้อสอบยากพอสมควรที่อาจารย์เฉลยมาคิดว่าได้คร่งหนึ่งก็ดีใจแล้ว


****หลังจากนั้นอาจารย์แจกชีดเพลง 5 เพลงพร้อมบอกให้ไปหัดร้องเพาะว่าอาจารย์จะสอบต้องร้องให้ได้ทุกเพลงไม่ใช่แค่ 5 เพลงนี้เท่านั้นอาจารย์จะจับฉลากเลือกเพลงให้เอง 


ต่อมาก็มาเรียน
ทักษะที่ 4 คือการส่งเสริมทักษะพื้นฐานทางการเรียน
ทักษะนี้ไม่เน้นที่จะให้เด็กอ่านออกเขียนได้แต่ขอให้เด็กช่วยเหลือตนเองได้ก็พอ
 =เป้าหมาย
-การช่วยให้เด็กแต่ละคนเรียนรู้ได้
-มีความรู้สึกที่ดีต่อตนเอง
-เด็กรู้สึกว่า *ฉันทำได้*
-พัฒนาความกระตื้อรือร้น อยากรู้อยากห็น
-อยากสำรวจอยากทดลอง
=ช่วงความสนใจ
-เด็กพิเศษจะมีระยะเวลาในช่วงความสนใจสั้นๆอยู่เพียง 5 นาที เราจะต้องส่งเสริมและพัฒนาให้เขาเกิดความสนใจให้ได้อยู่ช่วงระยะเวลา 5- 10 นาทีเป็นอย่างน้อย (เด็กพิเศษสิ่งที่จะทำให้เขาสนใจได้ดีก็คือนิทานที่สั้นและศิลปะที่เป็นแบบสั้นๆม้วนเดียงจบไม่ซับซ้อน)กิจกรมช่วงแรกๆๆจะต้องเป็นกิจกรรมที่สั้นๆง่ายๆไม่ต้องเยอะเพาะถ้าไม่ซับซ้อนไม่เยอะไปเป็นสิ่งง่ายๆเด็กก็จะเกิดความภาคภูมิใจว่าเขาทำได้
-ส่วนเด็กปกติช่วงระยะความสนใจจะอยู่ที่ 10-15 นาที
 -ต้องมีก่อนการเรียนรู้อื่นๆ
-จดจ่อต่อกิจกรรมในช่วงเวลาหนึ่งได้นานพอสมควร
=การเลียนแบบ
-เด็กจะเลียนแบบครูเพื่อนและเด็กที่โตกว่าแต่จะต้องกระตุ้นการเลียนแบบให้เด็กด้วยการทำตามคำสั่งคำแนะนำ
=การทำตามคำสั่งคำแนะนำ
-เด็กได้ยินสิ่งที่ครูพูดชัดหือไม่
-เด็กเข้าใจคำศัพท์ที่ครูใช้หรือไม่
-คำสั่งยุ่งยากซับซ้อนไปหรือไม่
รูปอาจารย์แสดงบทบาทสมมุติเกี่ยวกับการให้เด็กพิเศษทำตามตำสั่งโดยให้เพื่อนเป็นตัวแบบโดยคูจะต้องเรียกชื่อเด็กพิเศษก่อนเพื่อกระตุ้นความสนใจเด็กก่อนค่อยเรียกชื่อเด็กกติ



=การรับรู้การเคลื่อนไหว
-ได้ยิน เห็น สัมผัส ลิ้มส กลิ่น
-ตอบสนองอย่างเหมาะสม
 =การควบคุมกล้ามเนื้อเล็ก 
-กรรไรที่เหมาะสมกับเด็กปฐมวัยที่สุดที่แบบที่ 1 เพราะว่าจับง่ายสะดวกและมองเห็นปลายกไกรทำให้ง่ายต่อการตัดกระดาษ

ตัวอย่างอุปกรณ์สำหรับเด็กพิเศษ
- ลูกปัดขนาดใหญ่
- รูปต่อที่มีจำนวนชิ้นไม่มาก






ในการเล่นการทำกิจกรรมของเขาเราจะต้องเข้าไปดูแลเอาใจใส่เขาและให้คำแนะนำบ้างบางครั้ง

=การวางแผนการเตรียมพื้นฐานทางวิชการ
-จัดกลุ่มด็ก
-เริ่มต้นเรียนรู้โดยใช้ช่วงเวลา
-ให้งานเด็กแต่ละคนอย่างชัดเจนว่าต้องทำที่ไหน
-ติดชื่อเด็กตามที่นั่ง
-ใช้อุปกรณ์ที่้เด็กคุ้นเคย
-บันทึกว่าเด็กชอบอะไรที่สุด
-รู้ว่าเมื่อไหร่จะเปลี่ยนงาน
-มีอุปกรณ์ไว้สับเปลี่ยนใกล้มือ
-เตรียมทุกอย่าให้พ้อมก่อนเด็กมา
-พูดในางที่ดีชมไว้เสมอว่าเด็กทำได้เด็กทำเก่ง
-จัดกิจกรรมให้เด็กได้เคลื่อนไหว
-ทำบทเรียนให้สนุก

ต่อมาอาจารย์ให้ดูวีดีโอ

การนำไปประยุกต์ใช้
ได้รู้ว่าว่าทักาะทางการเรียนรู้ของเด็กไม่จำเป็นต้องอ่านออกเขียนได้แต่เน้นให้เขาสามารถช่วยเหลือตนเองได้ก่อนและจัดกิจกรรมที่ง่ายๆสั้นๆทำให้เด็กทำได้เองและเด็กก็จะเกิดความภาคภูมิใจว่าตนเองทำได้เหมือนเพื่อนคนอื่นเหมือนกันและช่วงระยะเวลาในการสนใจของเด็กนั้นเป็นช่วงสั้นๆคนเป็นครูก็จะต้องจัดกิจกรรมที่กะทัดรัดและชัดเจนทำง่ายไม่เยอะ

ประเมินตนเอง
ในวันนี้แต่งกายเรียบร้อยเข้าเรียนตรงเวลาตั้งใจเรียนตั้งใจทำกิจกรมที่อาจารย์สอนกระตื้อรือร้นในการเรียนและจดในสิ่งที่อาจาย์เพิ่มเติมให้ตลอดแต่ก็มีสติแตกอยู่บางในช่วงท้ายๆชั่วโมงแต่ก็เรียนรู้เรื่องสามารถนำสิ่งที่อาจารย์สอนไปต่อยอดได้ในอนาคต(และจากที่อาจารย์เฉลยข้อสอบก็คิดว่าตัวเองตอบได้ตามที่อาจารย์เฉลยอยู่บ้างแต่ไม่ร้อยเปอร์เซ็น)
ประเมินเพื่อน
เพื่อนวันนี้มาเรียนกันน้อยเพราะบางคนก็กลับต่างจังหวัดกันแล้วและเพื่อนที่าเรียนก็ให้ความร่วมมือในการเรียนดีบางคนก็ตั้งใจเรียนตั้งใจจดบางคนก็มีเล่นมีคุยอยู่บ้าพอสมควรแต่รวมๆๆก็ตั้งใจค่ะ
ประเมินอาจารย์
ในวันนี้อาจารย์ก็มีตกใจว่าเพื่อนทำไม่มาเรียนน้อยใจอาจารย์ก็เตียมสื่อการเรียนการสอนมาเป็นอย่างดีตั้งใจสอนตั้งใจมอบปะสบการณ์ถ่านทอดวามรู้ให้ดีเหมือนเดิมในทุกๆครั้งมีการแสดงบทบาทสมมุติในการเรียนทำให้เข้าใจง่ายมากยิ่งขึ้นค่ะ




สัปดาห์ที่ 13 วันที่ 31  มีนาคม 2558



บันทึกอนุทินครั้งที่ 13
Inclusive Education Experiences Management for Early Childhood
วิชาการจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวม
อาจารย์ผู้สอนอาจารย์ ตฤณ  แจ่มถิ่น
วัน/เดือน/ปี  วันอังคาร ที่ 31 มีนาคม  2558
เข้าสอนเวลา 14:10-17:30 น.











กิจกรรมวันนี้


อาจารย์งดการเรียนการสอนเนื่องจากในวันพุธที่ 1 เมษายนจะมีกิจกรรมกีฬาสีคณะศึกษาศาสตร์อาจารย์ก็เลยให้ไปช่วยกันเตรียมงานกีฬาสีช่วยกันทำภู่ทำงานต่างๆในห้องเราได้ทำภู่หัวหน้าก็นัดมาทำตอน 12:00 น ให้มาช่วยกันทำ เพื่อนบางคนก็ทำบางคนก็ไม่มาทำ







สัปดาห์ที่ 12 วันที่ 24  มีนาคม 2558





บันทึกอนุทินครั้งที่ 12
Inclusive Education Experiences Management for Early Childhood
วิชาการจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวม
อาจารย์ผู้สอนอาจารย์ ตฤณ  แจ่มถิ่น
วัน/เดือน/ปี  วันอังคาร ที่ 24  มีนาคม  2558 
เข้าสอนเวลา 14:10-17:30 น.






กิจกรรมวันนี้ 


อาจารย์สอบย่อย มีข้อสอบทั้งหมด 10 ข้อ


ประเมินตนเอง

ในการสอบในครั้งนี้เข้าสอบตรงเวลาแต่งกายเรียบร้อยก่อนสอบคิดว่าตัวเองจะทำได้ด้วยความมั่นใจเต็มร้อยแต่พออาจารย์แจกข้อสอบมาเท่านั้นนั่งคิดอยู่นานค่อยๆคิดและทบทวนที่อาจารย์สอนและแสดงบทบาทสมมุมติให้ดูในห้องเรียนแต่ก็ทำได้ทุกข้อค่ะแต่ไม่ค่อยมั่นใจสักเท่าไหร่แต่ก็ทำเต็มที่เต็มความสามาถที่รียนมาให้คะแนนตัวเองในครั้งนี้ 70 % ค่ะ


วันจันทร์ที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2558


สัปดาห์ที่ 11 วันที่ 17  มีนาคม 2558





บันทึกอนุทินครั้งที่ 11
Inclusive Education Experiences Management for Early Childhood
วิชาการจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวม
อาจารย์ผู้สอนอาจารย์ ตฤณ  แจ่มถิ่น
วัน/เดือน/ปี  วันอังคาร ที่ 17  มีนาคม  2558 
เข้าสอนเวลา 14:10-17:30 น.







**กิจกรรมวันนี้**


อาจารย์เริ่มด้วยการทักทายพูดคุยแล้วหลังจากนั้นอาจารย์ก็ให้ทำกิจกรรมโดยการพาไปเที่ยวไร่สตอว์เบอรรี่






แล้วถามคำถามว่าเมื่อนักศึกษษเห็นไร่สตอว์เบอรี่นักศึกษาคิดว่ารั่วที่กั่นจะเป็นั่วแบบไหน
ตอบ รั่วไม้ความสูงประมานหน้าอก
และเมื่อนักศึกษาผ่านรั่วเข้าไปแล้วนักศึกษาจะหยิบสตอว์เบอรี่กินกี่ลูก
ตอบ ไม่หยิบกินแต่จะหยิบใส่ตระกร้าแล้วเอาออกมากินข้างนอก
และในขณะที่ทำอะไรอยู่ในไร่สตอว์เบอรี่เจ้าของไร่มาพอดีนักศึกษาจะทำอย่างไร
ตอบ ก็ไม่ทำไงอยู่เชยๆ
ถ้าให้นักศึกษาทบทวนเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในไร่สตอว์เบอรี่นักศึกษารู้สึกอย่างไรกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
ตอบไม่รู้สึกอะไรค่ะเชยๆ
เฉลยการทำกิจกรมคือ การนอกใจแฟน คำตอบก็เหมือนอย่างที่เาตอบไป

กิจกรมต่อมาอาจาย์แจกสีก็คือวัสดุฝึกที่เราจะได้ในเทอมนี้ ก็คือสีไม้



จากนั้นอาจารย์แจกชีดเนื้อเพลงให้แล้วให้กลับไปฝึกร้องที่บ้านแล้วอาจารย์มาสอบหนาห้องเรียนให้เลือกเพลงที่ถนัดที่สุด 1 เพลง



จากนั้นเรียนเรื่องการส่งเสิมทักษะด้านการช่วยเหลือตนเอง


=ทักษะการช่วยเหลือตนเอง
(ให้อิสระโดยที่ไม่มีครูมาค่อยบอกค่อยสั่งให้ทำโน้นทำนี้)
-เรียนรู้การดำรงชีวิตอย่างอิสระให้ได้มากที่สุด
การกินอยู่
การแต่งตัว
กิจวัตรต่างๆในชีวิตประจำวัน
=การสร้างความอิสระ
-เด็กอยากช่วยเหลือตนเอง
-อยากทำงานตามความสามารถ
-เด้กเลียนแบบการช่วยเหลือตนเองจากเพื่อน หรือเด็กที่โตกว่า
=ความสำเร็จเป็นสิ่งสำคัญ
-การได้ทำด้วยตนเอง
-เชื่อมั่นในตนเอง
-เรียนรู้ความรู้สึกที่ดี
=หัดให้เด็กทำเอง
-ไม่ช่วยเหลือเกินความจำเป็นต้องใจแข็งไว
-ผู้ใหญ่มักทำสิ่งต่างๆให้เด็กมากเกินไป
-ทำให้แม้กระทั้งสิ่งที่เด็กสามารถทำได้เองให้เวลาเขาทำ
-หนูทำซ้ำ หนูยังทำไม่ได้
=จะช่วยเมื่อไหร่
-เด็กก็มีบางวันที่ไม่อยากทำอะไร หงุดหงิด เบื่อ ไม่ค่อยสบาย
-หลายครั้งเด็กจะขอความช่วยเหลือจากสิ่งที่ได้เรียนรู้ไปแล้ว
-เด็กรู้สึกว่ายังมีผู้ใหญ่ที่สามารถพึ่งได้แต่ต้องได้รับความช่วยหลือเฉพาะสิ่งที่เด็กต้องการ
-มักช่วยเด็กในช่วงทำกิจกรรม














=ลำดับขั้นตอนในกาช่วยเหลือตนเอง
-แบ่งทักษะการช่วยเหลือตนเองออกเป็นขั้นย่อยๆ
-เรียงลำดับตามขั้นตอน
=กาเข้าส้วม
-เข้าไปห้องส้วม
-ดึงกางเกงลง
-ก้าวขึ้นไปนั่งบนส้วม
-ปัสสวะะหรืออุจจาระ
-ใช้กระดาษชำระเช็ดก้น
-ทิ้งกระดาษชำระในตระกร้า
-กดชักโครกหรือตักน้ำราด
-ดึงกางเกงขึ้น
-ล้างมือ
-เช็ดมือ
-เดินออกจากห้องส้วม
(เาจะต้องย่อยงานให้เด็กอย่างละเอียดและเป็นขั้นตอน)
=การวางแผนทีละขั้น
-แยกกิจกรรมเป็นขั้นย่อยๆให้มากที่สุด





สรุป
-ครูต้องพยายามให้เด็กทำสิ่งต่างๆด้วยตนเอง
-ย่อยงานให้เด็กแต่ละอย่างเป็นขั้นๆ
-ความสำเร็จขั้นเล็กๆนำไปสู่ความสำเ็จทั้งมวล
-ช่วยให้เด็กมีความมั่นใจในตนเอง
-เด็กพึ่งตนเองได้รู้สึกเป็นอิสระ

ต่อมาอาจารย์ให้ทำกิจกรรมศิลปะ





ผลงานของหนูค่ะ



จากนั้นอาจารย์ให้นำวงกลมของตัวเองไปแป๊ะบนต้นไม้ทีละคน








ต้นไม้แห่งความรักของกลุ่ม 103




สรุปการทำกิจกรรม
-ได้เรื่องมิติสัมพันธ์
-รูปทรงและสี
-ความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการใหม่ๆ



การนำไปประยุกต์ใช้
สามารถนำเทคนิคและวิธีกาสอนที่อาจารย์สอนไปใช้สอนได้จริงและสามารถรับมือกับเด็กได้เพาะว่าเรารู้แล้วเรื่องทักษะการช่วยเหลือตนเองของเด็กคนเป็นครูจะต้องไม่ช่วยเหลือเด็กเกินความจำเป็นเพราะว่าเด็กอาจจะทำได้อยู่แล้วจะต้องใจแข็งเข้าไว้และเราจะต้องใจเย็นเวลาที่เด็กถามบ่อยๆและเราควรเป็นคนที่ค่อยช่วยเหลือให้คำแนะนำเพียงเท่านั้น



ประเมินตนเอง
ในวันนี้เข้าเรียนตรงเวลาแต่งกายเรียบร้อยตั้งใจฟังสิ่งที่อาจารย์สอนและมอบเทคนิคต่างๆให้เป็นอย่างดีแต่ก็มีคุยมีเล่นกับเพื่อนอยู่บ้างพอสมควรแต่เวลาทำกิจกรรมก็ตั้งใจทำอย่างเต็มที่เต็มความสามารถและตั้งใจฟังที่สิ่งอาจาย์มอบเทคนิคต่างๆให้การใช้บทบาทสมมุติทำให้หนูเรื่องู้เรื่องและเห็นภาพมากขึ้นและสนทนาตอบโต้กับอาจารย์อยู่บ่อยครั้งในการเรียน

ประเมินเพื่อน
ในวันนี้เพื่อนเข้าเรียนตรงเวลาแต่งกายเรียบร้อยตั้งใจเรียนกันดีมีคุยมีเล่นมีกินขนมกันอยู่เยอะพอสมควรแต่เพื่อนบางคนก็ตั้งใจฟังเป็นอย่างมากและจดบันทึกตามที่อาจารย์ชี้แนะเพิ่มเติม

ประเมินอาจารย์
วันนี้อาจาย์เข้าสอนตรงเวลาเหมือนทุกๆคั้งแต่งกายเรียบร้อน่ารักเหมาะกับการเป็นครูและอาจารย์ก็มีเทคนิคดีๆและการแสดงบทบาทสมมุติอยู่ตลอดทุกหัวข้อทำให้เห็นภาพและเข้าใจมากยิ่งขึ้นกว่าเดิมและเรียนรู้เรื่องทำให้การเรียนการสอนน่าสนใจและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น




วันเสาร์ที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2558


สัปดาห์ที่ 10 วันที่ 10  มีนาคม 2558






บันทึกอนุทินครั้งที่ 10
Inclusive Education Experiences Management for Early Childhood
วิชาการจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวม
อาจารย์ผู้สอนอาจารย์ ตฤณ  แจ่มถิ่น
วัน/เดือน/ปี  วันอังคาร ที่ 10  มีนาคม  2558 
เข้าสอนเวลา 14:10-17:30 น.










กิจกรรมวันนี้





อาจารย์เริ่มด้วยอาจารย๋เล่าเรื่องการสอบบรรจุแล้วอาจารย์ก็ถามว่าใครจบปี5แล้วใครจะไปสอบบรรจุเลยบ้างหนูหนึ่งคนที่ยกมือแต่อาจารย์บอกว่าใครที่คิดจบแล้วจะไปสอบเลยจะต้องเิ่มอ่านหนังสือตั้งแต่ตอนนี้เพราะถ้าไปอ่านเอาปี5เลยไม่ทันแน่ๆกาสอบบรรจุอาจารย์บอกว่ามีอยู่ 2 สังกัดคือ สังกัด กรุงเทพมหานคร กับสังกัด เขตพื้นที่การศึกษาทั่วประเทศ(สพฐ) แล้วอาจาย์ก็บอกถึงแนวข้อสอบว่ามีทั้งหมด 3 ขั้น คือ 1. ภาค ก หรือความรู้ทีั่วไป เช่น พรบ.การศึกษา วิชาหลักสูตรวิชาการบริหารจัดการในชั้นเรียน วิชาการประเมิน เป็นต้น ส่วนภาค ข คือ วิชาเอกของแต่ละสาขาวิชา เช่น กาศึกษาปฐมวัย เป็นต้น จะสอบเกี่ยวกับความรู้ในสาขานั้นๆอย่างละเอียดอาจารย์บอกว่ายาก ในภาค  ข และกาสอบสัมภาษณ์เป็นขั้นตอนสุดท้าย
แล้วอาจารย์ก็อธิบายถึงความแตกต่างระหว่าง กทม /สพฐ/เอกชล
-เอกชลพ่อแม่ผู้ปกครองเขาคิดว่าเขาเสียตังมาเรียนเค้าจะไม่สนใจครูเลย
-กทม จะไม่ใช่กิจกรรมหลักกิจกรรมหลัก 6 กิจกรมส่วนมากจะใช้อ่านเขียนมากกว่า
ส่วน สพฐ การเรียนการสอนจะเป็นไปตามหลักสูตรที่วางไว้เลย
และสุดท้ายอาจารย์บอกว่า ชื่อโรงเรียนดีๆเพราะเข้าไปการเรียนการสอนหรือสิ่งต่างๆอาจจะไม่ดีเหมือนชื่อก็ได้
กิจกรรมต่อมาอาจารย์ให้ดูวีดีโอการศึกษาแบบเรียนร่วมของ 'โรงเรียนบ้านพลอยภูมิ'



ความรู้ที่ได้รับจากการชมวีดีโอ
 ได้รู้ว่ากาจัดกิจกรรมที่่ช่วยส่งเสริมการเรียนของเด็กในห้องเรียนเรียน่วมคือ กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะครูมักจะนำมาช่วยพัฒนาเด็กทั้งทางด้านร่างกายคือ การเดิน การเขย่งปลายเท้า การทรงตัวการก้าวกระโดน ความสมดุลของร่างกาย
ด้านอามณ์ คือ เด็กอายุเท่ากันมีพัฒนาการช้าอาจจะไม่ให้ความร่วมมือในกาทำกิจกรมเท่าที่ควรครูจึงต้องนำกิจกรรมเคลื่อนไหวมาช่วยส่งเสริมและเป็นการกระตุ้นให้กับเด็ก เด็กจะได้สนุกสนุกและอยากจะทำกิจกรรมเช่น            
 เพลงหอยโข่ง
 "หอยโข่งหอยโข่ง มันหดตัวเป็นวงกลม"
กิจกรรมต่อมาอาจารย์ให้ทำกิจกรรมมีเกมมาให้เล่นเพื่อกระตุ้นสมองก่อนเรียนในวันนี้เราเรียนกันท้งหมด 60 คนเรียนร่วมกัน 2 กลุ่มค่ะ
วันนี้อาจารย์สอนเรื่อง การส่งเสริมทักาษะต่างๆของเด็กพิเศษ
ทักษะด้านภาษา
ห้องเรียนสำหรับเด็กทางภาษาจะต้องมีตัวหนังสือเยอะๆถึงแม้ว่าเด็กจะอ่านออกหรือไม่ก็ตามและช่วยส่งเสริมการร้องเพลง/เล่านิทาน/การท่องคำคล้องจอง
=กาวัดความสามารถทางภาษา
-เข้าใจสิ่งที่ผู้อื่นพูดไหม
-ตอบสนองเมื่อมีคนพูดด้วยไหม
-ถามหาสิ่งต่างๆไหม
-บอกเล่าเหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นไหม
-ใช้คำศัพท์ของตัวเองกับคนอื่นไหม
=การออกเสียง/พูดไม่ชัด
-กาพูดตกหล่น
-ใช้เสียงหนึ่งแทนอีกเสียง
-ติดอ่าง
=การปฎิบัติของครูกับผู้ใหญ่
-ไม่สนใจการพูดซ้ำหือกาออกเสียงไม่ชัดและอย่าไปจ้ำจี้จ้ำชัยเด็ก
-ห้ามบอกเด็กว่า ''พูดซ้ำๆ'' ''ตามสะบาย''คิดก่อนพูด''
-อย่าขัดจังหวะขนาดเด็กพูดปล่อยให้เด็กพูดให้จบ
-อย่าเปลี่ยนกาใช้มือข้างถนัดของเด็ก
-ไม่เปรียบเทียบการพูดของเด็กคนหนึ่งกับเด็กอีกคนหน่ง
-เด็กที่พูดไมชัดอยากจะเกี่ยวกับการได้ยิน
=ทักษะพื้นฐานทางภาษา
-ทักษะการับรู้ภาษา
-การแสดงออกทางภาษา
-การสื่อความหมายโดยไม่ใช่คำพูด








=ความรับผิดชอบของครูปฐมวัย
-การรับรู้ภาษามาก่อนกาแสดงออกทางภาษา
-ภาษาที่ไม่ใช่การพูดมาก่อนภาษาพูด
-ให้เวลาเด็กได้พูด
-คอยให้คำตอบ(ชี้แนะหากจำเป็น)
-เป็นผู้ฟังที่ดีและตอบโต้อย่างซับไว
-เด็กไม่ได้เรียนรู้ภาษาเพยงการฟังเพียงอย่างเดียว
-ให้เด็กทำกิจกรมกลุ่ม เด็กพิเศษจะได้มีแบบอย่างจากเพื่อน
-กระตุ้นให้เด็กบอกความต้องการของตัวเอง(ครูไม่ควคาดการณ์ล่วงหน้า)
-ใช้คำถามปลายเปิด
-ใช้วิธีกาสื่อความหมายมากกว่าการพูด
เด็กพิเศษรับรู้มากเท่าไห่ยิ่งพูดได้มากเท่านั้น
-ร่วมกิจกรรมกับเด็ก




ภาพบรรยากาศในการเรียนการสอน





 กิจกรรมต่อมาอาจาย์ให้ร้องเพลงของสัปดาห์ที่แล้วให้ฟังแข่งกัน 2 กลุ่ม
และหลังจากนั้นอาจารย์ให้กิจกรรมศิลปะบำบัด












ผลงานของคู่หนู 








                                                    ภาพร่วมผลงานของกลุ่มเพื่อน




ความรู้ที่ได้รับจากการทำกิจกรรม 
-เด็กจะได้เรียนมิติสัมพันธ์
-กล้ามเนื้อมัดเล็ก
-ความคิดสร้างสรรค์ที่แปลกใหม่
-ได้เรื่องคณิตศาสตร์เรื่่องรูปทรงต่างๆและสี



การนำไปประยุกต์ใช้
สามารำนำความรู้เื่องกาส่งเสริมทักษะทางภาษาไปช่วยส่งเสริมด้านการพูดด้านการออกเสียงของเด็กให้ดีมากขึึ้นโดยที่เราจะไม่ไปขัดจังหวะเด็กเวลาที่เด็กพูดเวลาที่เด็กจะส่งเสียงหรือแสดงพฤติกรรมในการพูดเพาะถ้าเาไปขัดขว้างจะทำให้เด็กเกิดความสะดุดในการพูดและเราจะไม่ใช่คำพูดบอกเด็กว่าให้เด็กพูดซ้ำๆ  พูดตามสบาย คิดก่อนพูดโดยเด็ดขาดและเราเป็นครูจะต้องเข้าใจถึงสิ่งที่เขาพูดและสิ่งที่เด็กจะได้รับจากครูในการพูดด้วยและห้องเรียนของเด็กที่ช่วยส่งเสริมด้านภาษาของเด็กจะต้องเป็นห้องเรียนที่มีตัวหนังสือเยอะๆและส่งเสริมการร้องเพลง การท่องคำคล้องจอง เป็นต้น


ประเมินตนเอง
ในวันนี้แต่งการเรียบร้อยเข้าเรียนตรงเวลาและได้ตัวปั๊มเด็กดีในการจัดโต๊ะให้เพื่อนไได้เรียนกัน
และในวันนี้ตั้งใจเรียนอยู่บ้างพอสมควรหลังเริ่มจะเล่นจะคุยกับเพื่อนมากไปหน่อยสติแตกแต่ก็สามารถครบคุ้มและกับมามีสติเหมือนเดิมและตั้งใจฟังสิ่งที่อาจารย์มอบให้

ประมินเพื่อน
วันนี้เพื่อนตั้งใจเรียนดีพอสมควรแต่ก็คุยกันหนักอยู่พอสมควรเพราะว่าเราเรียนกัน 2 กลุ่ม แต่งกายเรียบ้อยแต่ก็มีบ้างส่วนที่เข้าเรียนไม่ตรงเวลาให้ความร่วมมือในการเรียนดี

ประเมินอาจารย์
วันนี้อาจาย์เตรียมสื่อการสอนมาพร้อมเป็นอย่างดีแต่งกายน่ารักเหมือนเดิมแต่วันนี้หน้าตาอาจารย์ไม่ค่อยสดชื่นเท่าไห่นักเพราะว่ามีเรื่องเคีลยสนิดหน่อยพอสมควรแต่อาจารย์ก็ให้ความรู้และประสบการณ์เป็นอย่างดีมีการยกตัวอย่างทั้งการพูดและกาแสดงบทบาทสมมุติที่ดีเหมือนเดิมทำให้การเรียนการสอนเห็นภาพที่ชัดเจนมากยิ่งขึ้นและเข้าใจง่าย